พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

แนวคำถาม แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

________________________________________________________________________________________
คำชี้แจง
** QUIZ แนวข้อสอบฟรี – พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
** จำนวน 50 ข้อ
** ข้อสอบจะทำการสุ่ม ไม่เรียงข้อ ไม่เรียงช้อยส์ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการท่องจำข้อสอบ
________________________________________________________________________________________

1.

ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. สามัญ” เพื่อเป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการต่าง ๆ ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 

2.

อ.ก.พ. กระทรวง ใครเป็นประธาน

 
 
 
 

3.

ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือน

 
 
 
 

4.

ให้มี “คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” คณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า ….

 
 
 
 

5.

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้ วันที่เท่าใด

 
 
 
 

6.

ข้อใด ไม่ใช่ “ลักษณะ” ตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

 
 
 
 

7.

“อธิบดี” หมายถึงข้อใด

 
 
 
 

8.

สำนักงาน ก.พ. มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 

9.

ก.พ. มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 

10.

ข้อใดไม่ใช่ตําแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ

 
 
 
 

11.

ข้าราชการพลเรือนสามัญผ้ใดถึงแก่ความตาย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ผ้นั้นเป็นกรณีพเศษเพื่อประโยชน์ในการคํานวณบาเหน็จบำนาญ หรือให้ได้รับสิทธิประโยชน์อื่นตามข้อใด

 
 
 
 

12.

ก.พ. ใครเป็นประธาน

 
 
 
 

13.

กรรมการใน ก.พ. ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้อยู่ในตําแหน่งได้คราวละกี่ปี

 
 
 
 

14.

ให้มีกรรมผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.พ. ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ด้านต่างๆ ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 

15.

อ.ก.พ. จังหวัด ใครเป็นประธาน

 
 
 
 

16.

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ใครเป็นผู้รักษาการ

 
 
 
 

17.

ก.พ. มีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อทําการใด ๆ แทนได้ เรียกโดยย่อว่า…

 
 
 
 

18.

ข้อใดไม่ใช่มีอํานาจหน้าที่ของสํานักงาน ก.พ.

 
 
 
 

19.

ข้าราชการพลเรือนมี 2 ประเภท อะไรบ้าง

 
 
 
 

20.

ให้มี “คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” จำนวนกี่คน

 
 
 
 

21.

ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีกี่ประเภท

 
 
 
 

22.

ข้าราชการพลเรือนที่ถูกให้ออกจากราชการให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภายในกี่วัน นับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคําสั่ง

 
 
 
 

23.

การสอบแข่งขัน การขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบแข่งขันให้เป็นไปตามข้อใด

 
 
 
 

24.

การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์

 
 
 
 

25.

โทษทางวินัยมี 5 สถาน ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 

26.

อ.ก.พ. กรม ใครเป็นประธาน

 
 
 
 

27.

ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีดังต่อไปนี้ ข้อใดผิด

 
 
 
 

28.

“กระทรวง” หมายความรวมถึง…………..

 
 
 
 

29.

ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีดังต่อไปนี้ ข้อใดผิด

 
 
 
 

30.

การจ่ายเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งให้ข้าราชการพลเรือนให้เป็นไปตามข้อใด

 
 
 
 

31.

ข้อใดคือความหมายของ “ข้าราชการพลเรือน”

 
 
 
 

32.

ข้อใดไม่ใช่ ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ

 
 
 
 

33.

ข้อใดไม่ใช่เหตุผลในการประกาศใช้ พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

 
 
 
 

34.

กรรมการ ในคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม มีวาระการดํารงตําแหน่ง นับแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง

 
 
 
 

35.

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มีกี่หมวด กี่มาตรา

 
 
 
 

36.

ตำแหน่งใด ไม่ใช่กรรมการโดยตำแหน่ง ใน ก.พ.

 
 
 
 

37.

เมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทําผิดวินัย ให้ดำเนินการตามข้อใด

 
 
 
 

38.

การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คํานึงถึงระบบคุณธรรมดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 

39.

ให้มีสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เรียกโดยย่อว่า “สํานักงาน ก.พ.” โดยมีเลขาธิการ ก.พ.  เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและบริหารราชการของสํานักงาน ก.พ. ขึ้นตรงต่อใคร

 
 
 
 

40.

ก.พ. ย่อมาจากข้อใด

 
 
 
 

41.

ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องกระทำการในข้อใดเป็นลำดับแรก

 
 
 
 

42.

การร้องทุกข์ที่เกิดจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ให้ร้องทุกข์ต่อข้อใด

 
 
 
 

43.

ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องกระทําการอันเป็นข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 

44.

ข้อใดคือความหมายของ “ข้าราชการฝ่ายพลเรือน”

 
 
 
 

45.

ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกําหนดไว้โดยมุ่งประสงค์ให้เป็นข้าราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นข้าราชการ โดยเฉพาะในเรื่อง ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช

 
 
 
 

46.

มาตรา 39 วันเวลาทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจําปี และการลาหยุดราชการของข้าราชการพลเรือน ให้เป็นไปตามข้อใด

 
 
 
 

47.

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง

 
 
 
 

48.

ข้อใดไม่ได้เป็น “อ.ก.พ. สามัญ”

 
 
 
 

49.

ข้อใดไม่ใช่ คุณสมบัติทั่วไปของผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือน

 
 
 
 

50.

ให้มีกรรมผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.พ. ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ด้านต่างๆ จํานวนเท่าใด