แนวข้อสอบ พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 และ พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 / (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560

________________________________________________________________________________________
คำชี้แจง
** QUIZ แนวข้อสอบฟรี –
พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
** จำนวน 50 ข้อ
** ข้อสอบจะทำการสุ่ม ไม่เรียงข้อ ไม่เรียงช้อยส์ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการท่องจำข้อสอบ
________________________________________________________________________________________

1. “ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของ กกม. ในการดำเนินรักษาสถานะของข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อดำเนินการทางนิติวิทยาศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

2. ผู้ให้บริการไม่เก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จำเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการ มีโทษตามข้อใด

 
 
 
 

3. คณะกรรมการกำกับดูแลด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เรียกโดยย่อว่าอะไร

 
 
 
 

4. “นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

5. “นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

6. “ผู้ใดขัดขวางการทดสอบการทำงานของคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าเกี่ยวข้องจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

7. ให้มีสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติเป็นหน่วยงานของรัฐ มีฐานะตามข้อใด

 
 
 
 

8. “พนักงานเจ้าหน้าที่กระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตามพระราชบัญญัตินี้ให้แก่บุคคลอื่น” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 

 

 
 
 
 

9. ข้อใดไม่จัดเป็น “ระดับ” ของภัยคุกคามทางไซเบอร์

 
 
 
 

10. “ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

11. “คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ” มีใครเป็นประธาน

 
 
 
 

12. ผู้ใดรู้ว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ในความครอบครองของตนเป็นข้อมูลที่ศาลสั่งให้ทำลาย ผู้นั้นต้องทำลายข้อมูลดังกล่าว หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

13. คณะกรรมการบริหารสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เรียกโดยย่อว่าอะไร

 
 
 
 

14. ตัดต่อภาพผู้อื่นโพสต์ขึ้นเฟสบุ๊คจนได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

15. “ผู้ให้บริการ” ตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมายความว่าอย่างไร

 
 
 
 

16. ใครเป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560

 
 
 
 

17. “ส่ง E-mail โฆษณาสินค้า โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

18. ฝากร้านในไอจีดารา ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

19. “นักศึกษาฝึกงานได้แอบเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นความลับของบริษัท เพราะเห็นรหัสผ่านที่จดติดไว้ข้างหน้าจอ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

20. “ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือเข้าถึงเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

21. “คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ” เรียกโดยย่อว่าอะไร

 
 
 
 

22. “ครูบอยลบไฟล์งานในโน๊ตบุคของครูเบิ้ม เพราะหมั่นไส้ที่มีผลงานดีกว่า” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

23. “ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของ กกม. ในการดำเนินมาตรการแก้ไขภัยคุกคามทางไซเบอร์เพื่อจัดการข้อบกพร่องหรือกำจัดชุดคำสั่ง ไม่พึงประสงค์ หรือระงับบรรเทาภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่ดำเนินการอยู่” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

24. “แอบเข้าใช้งาน Facebook ของเพื่อนร่วมงานซึ่งลืมล็อกเอาท์จากระบบ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

25. โพสต์รูปนักโทษยาเสพติดซึ่งถูกวิสามัญโดยปิดบังใบหน้าผู้ตายด้วยแถบสีดำ ซึ่งกระทำโดยสุจริตอันเป็นการติชมด้วยความเป็นธรรม ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

26. “ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

27. ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่ากี่วัน นับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์

 
 
 
 

28. “ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

29. “ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

30. “ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

31. “ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

32. ” ผู้ใดขัดขวางเข้าตรวจสอบสถานที่ โดยมีหนังสือแจ้งถึงเหตุอันสมควรไปยังเจ้าของสถานที่เพื่อเข้าตรวจสอบสถานที่นั้น หากมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

33. “NCSC” ย่อมาจากข้อใด

 
 
 
 

34. ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หมายความว่าอย่างไร

 
 
 
 

35. “กดไลค์ข่าวปลอม” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

36. “ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

37. “การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์” หมายถึง มาตรการเพื่อป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์อันกระทบต่อความมั่นคงด้านต่าง ๆ ข้อใดไม่ใช่

 
 
 
 
 

38. ภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยแบ่งออกเป็นกี่ระดับ

 
 
 
 

39. “พนักงานบริษัทสินเชื่อแห่งหนึ่งเผยแพร่ข้อมูลลูกค้า ให้กับบุคคลอื่น” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

40. “ผู้ใดกระทำความผิดโดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

41. การสร้างข่าวลือว่ามีการระบาดของไวรัสโควิด-19 ทางอินเตอร์เน็ตทำให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน จนเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ผู้นำเข้าระบบคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จดังกล่าวต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

42. “ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกัน” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

43. โพสต์รูปนักโทษยาเสพติดซึ่งถูกวิสามัญโดยใช้ถ้อยคำดูหมิ่น จนทำให้บุตรของผู้ตายได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

44. ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หมายความว่าอย่างไร

 
 
 
 

45. “ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

46. “ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ” ต้องระวางโทษตามข้อใด

 
 
 
 

47. “ผู้ใช้บริการ” ตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมายความว่าอย่างไร

 
 
 
 

48. “คณะกรรมการกำกับดูแลด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ” มีใครเป็นประธาน

 
 
 
 

49. ใครเป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562

 
 
 
 

50. “ไซเบอร์” ไม่ได้หมายความรวมถึงข้อใด